ในช่วงแรกอาจจะยังไม่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลง แต่เมื่อหลังอายุ 50 – 60 ปี ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อก็จะลดลงด้วย ประมาณ
ร้อยละ 1.5 ต่อปี และลดลงเร็วขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น จนเริ่มมีผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันหลังอายุ 65 ปี
ดังนั้น การรู้เท่าทันภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้สูงวัยจึงเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งการสูญเสียมวลของกล้ามเนื้อ
และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ซึ่งภาวะนี้ถือเป็นกลุ่มอาการของผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome)
ที่พบบ่อยถึง 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุทั่วไป
อาการต้องสังเกต
การป้องกันและรักษาภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยต้องประกอบด้วย 3 สิ่งต่อไปนี้ควบคู่กัน :
ออกกำลังกายชนิดเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Resistive Exercise) ควรทำอย่างน้อย 2 – 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ร่วมกับการออกกำลังชนิดเพิ่มความทนทาน (Aerobic Exercise) จะช่วยให้มีการสร้างโปรตีน
ของกล้ามเนื้อและช่วยให้ไขมันในกล้ามเนื้อลดลง
จักรยานปั่นอยู่กับที่ เป็นอีกหนึ่งทางเลือก
อาหาร ควรได้รับโปรตีนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะอาหารที่มีกรดอะมิโนจำเป็นชนิดลิวซีนสูง
เช่น ถั่วเหลือง เนื้อปลา เนื้อวัว เพื่อป้องกันการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อและเพิ่มเส้นใยของกล้ามเนื้อ
ปรับเปลี่ยน Lifestyle ที่เป็นปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ หยุดสูบบุหรี่ ลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
รักษาโรคเรื้อรังที่เป็นสาเหตุ
“การป้องกัน” ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้สูงวัย “สำคัญมากกว่าการรักษา” เนื่องจากมวลกล้ามเนื้อ
เริ่มลดลงตั้งแต่อายุ 40 ปี
เพราะฉะนั้นการออกกำลังกายและปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตตั้งแต่เนิ่น ๆ คือสิ่งที่จะช่วยป้องกันอย่างเห็นผล
อย่างไรก็ตามหากใครยังไม่เริ่ม ไม่มีคำว่าสายเกินไป
สำหรับการเริ่มต้นที่ดีตั้งแต่วันนี้
“ ป้องกัน ดีกว่า รักษา “
สนับสนุนข้อมูลโดย โรงพยาบาลกรุงเทพ
มอบสุขภาพที่ดีกับบิดามารดาผู้สูงอายุในบ้าน
หรือแม้แต่ตัวคุณเอง เพื่อบริหารมวลกล้ามเนื้อ
รวมถึงหลอดเลือดสมองให้แข็งแรง
ป้องกันอาการสโตรก หรือเส้นเลือดสมองตีบ แตก โดยไม่รู้ตัว
บริหารทุกวัน อย่างน้อยวันละ 45 – 60 นาที
อยู่ที่ไหนก็ปั่นออกกำลังกายได้ ไม่ว่าจะที่ทำงาน หรือที่บ้าน
นั่งดูทีวี นั่งทำงาน นั่งอ่านหนังสือ นั่งเฉยๆ ก็ปั่นเถอะ
การปั่นทำให้เลือดในร่างการเกิดการหมุนเวียน สูบฉีดได้เป็นอย่างดี
ช่วยลดอาหารเส้นเลือดหัวใจตีบ
ช่วยลดอาการสโตรก
ช่วยสร้างความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ
ช่วยให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น
No products in the cart.